WiTcast 138 – Polaris Dawn / Starliner / สีย้อมผิวใส / Dark Oxygen / หมูเด้ง / แมงมุมหิ่งห้อย

ข่าว polaris Dawn spacewalk –1,2   ข่าวหุ่นยนต์ One X   ข่าวสีย้อมชีโตส Tartrazine ทำให้หนังหนูใส –1,2,3 ข่าว Dark Oxygen –1,2 ช่วงใหม่ “WiT สัตว์” หมูเด้ง ฮิปโปแคระ ข่าวแมงมุมใช้แสงหิ่งห้อยปลอมเป็นตัวเมียล่อหิ่งห้อยตัวผู้ให้มาติดใย –1,2

WiTcast Special – “จิตวิทยาและสมอง เพื่อคนเมือง” เสวนาจากงาน WiT in BKK 2024

“จิตวิทยาและสมอง เพื่อคนเมือง” โดย ดร. นพ.ชัยภัทร ชุณหรัศมิ์, เรืองริน อักษรานุเคราะห์ และวีรธัช พงษ์เรืองเกียรติ คนกรุงฯ ควรดูแลสุขภาพจิตกันอย่างไร? ทำไมเมืองใหญ่ทำให้คนเหงา? สมองของเราละเอียดอ่อนและเปราะบางเพียงใด? มาร่วมหาคำตอบไปด้วยกันกับเหล่าวิทยากรมากประสบการณ์ ผู้เชี่ยวชาญทั้งประสาทวิทยาศาสตร์และจิตวิทยา!  

WiTcast 137.2 – สัมภาษณ์พีพี เรื่อง Cyborg Psychology และงานวิจัยล้ำๆ จาก MIT Media Lab + WiT Quizzz บรรพชีวิน

WiT Quiz สัตว์โบราณตัวไหนไม่มีจริง เฉลย Lokiceratops จริง –1 เฉลย Kermitops จริง –1 เฉลย Plesiosaurus nobitai หลอก แต่ที่มีจริงคือไดโนเสาร์กินเนื้อตั้งชื่อตามโนบิตะ Eubrontes nobitai – 1 พีพีกับอาจารย์ Pattie Maes ที่ MIT M edia Lab   WiT Quiz ข้อ 2 ต่อ เฉลยข้อ Griffin มาจาก protoceratops หลอก – 1,2 เฉลย หินงู snake stones ในศาสนาคริสต์คือฟอสซิลแอมโมไนต์ จริง – 1 ฟอสซิลแอมโมไนต์ในศาสนาพุทธมีความเชื่อว่าเป็นพระเกศาธาตุของพระพุทธเจ้า – หลอก แต่ในศาสนาฮินดูมีนับถือแอมโมไนต์เป็นจักรของพระนารายณ์ – 1

WiT Drive 22 – อาบันรีวิวการตรวจมะเร็งเต้านม

  อ้างอิงข้อมูลงานวิจัยที่บอกว่า สภาพจิตไม่ส่งผลต่อการเป็นหรือลุกลามของมะเร็ง –1,2,3

WiTcast 137.1 – ไปร่วมงานบรรพชน / ขุดไดโนเสาร์ภูเวียง / ยุคแห่ง monotremes / หุ่นสังหารนาโน DNA origami

  WiT News ข่าวกรุฟอสซิล monotremes ร้อยล้านปีที่ออสเตรเลีย –1,2   ข่าวนาโนบ็อทสังหารมะเร็ง ทำจาก DNA origami – 1,2

WiTcast 136 – อ.วิน กับ อ.แทน สองหนุ่มมาดแมน พาเที่ยวทะเล

ข้าพเจ้า แทนไท ประเสริฐกุล ไปสัมภาษณ์อาจารย์วินมาครับ รอบนี้คุยเรื่องคอร์ส Under the Sea ที่อ.วินเพิ่งเปิดสอนปีแรก สนุกนิ ตามมาฟังเร้ว

WiTcast 135 – แขกรับเชิญ แอน มอส / วิธีลดโกรธ / Carbon Capture / Carbon Credits / WiT Quizzz

ข่าววิธีลดโกรธ –1 ข่าวดูดคาร์บอนออกจากน้ำทะเล –1 นกติ๊ดญี่ปุ่น ตัวเมียเมื่อถึงหน้าบ้านแล้วจะเกาะข้างหน้ากระพือปีกถี่ๆ เป็นการเชื้อเชิญสามีให้เข้าบ้านก่อน กบตัวเมีย มีพฤติกรรมเชื้อเชิญตัวผู้ด้วยการขยิบตา นกกะรางหัวขวาน ตัวเมียมีพฤติกรรมจิกหัวตัวผู้ที่ไม่ช่วยเลี้ยงลูก     เฉลย ข้อ 1 จริง https://www.science.org/content/article/after-you-female-bird-s-flutter-conveys-polite-message-her-mate ข้อ 2 จริง https://www.science.org/content/article/flirting-female-frogs-blink-beckon-potential-princes ข้อ 3 หลอก ข่าวจริงคือแม่เลี้ยงลูกโหด ป้อนน้องให้พี่กิน https://www.science.org/content/article/watch-out-colorful-bird-raises-nest-cannibals

WiTcast 134 – แขกรับเชิญคุณไวรัสไก่ / นิทานพืชมงคล / Ape News / WiT Quizzz

Ape News ข่าวโบโนโบ้ก้าวร้าวกว่าชิมแปนซี –1,2,3 ข่าวอุรังใช้ยาทาแผล –1,2 ข่าวชิมแปนซีกินขี้ค้างคาว –1 ข่าว AlphaFold 3 –1 ข่าว AI ช่วยค้นพบยาปฏิชีวนะ –1,2     WiT Quizzz ข้อไหนหลอก ตุ่นปากเป็ด สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่ประหลาดที่สุด นอกจากไม่มีหัวนมแล้ว นักวิทย์ยังเพิ่งค้นพบว่ามันสามารถให้นมทางตูดได้ด้วย งานวิจัยล่าสุดชี้ ความสำเร็จในการลดมลพิษทางอากาศของจีน ส่งผลให้โลกร้อนหนักขึ้นในช่วง 10 ปี ที่ผ่านมา ออสเตรเลียทำโครงการอนุรักษ์เหี้ยท้องถิ่นด้วยการปล่อยไข่คางคกพิษ 200,000 ฟอง เฉลย ข้อ 2 จริง https://www.science.org/content/article/deadly-pacific-blobs-tied-emission-cuts-china https://www.science.org/content/article/clearer-skies-may-be-accelerating-global-warming ข้อ 3 จริง https://www.science.org/content/article/young-toads-are-teaching-australian-lizards-to-avoid-deadly-snacks ข้อ 1 หลอก เรื่องจริงคือ เขียดงูให้นมลูกทางตูด พฤติกรรมที่เพิ่งค้นพบ https://www.science.org/content/article/watch-snakelike-creature-feed-milk-its-young

Brain Code Cast Ep.6 – เรียนนิวโรไปทำไร? การใช้ความรู้สมองในสาขาอาชีพต่างๆ

ข้อมูลเพิ่มเติมของโครงการ BrainCode 101 https://braincode101.github.io/ ฟัง podcast จบ ชวนไปลงลึกยิ่งขึ้นกับคอร์ส Brain Building Block ทางช่อง @brainCode101 และถ้าสนใจมาเข้าค่าย brainCodeCamp เปิดรับสมัครแล้วตั้งแต่ 16 มิถุนายน – 15 กรกฎาคม 2566 https://braincodecamp.web.app/   ชื่อจริงแขกรับเชิญ หมอกิ๊ก : ชัยภัทร ชุณหรัศมิ์ อ.ปอล : ลลิตตา สุริยาอรุณโรจน์ พิธีกร : แทนไท ประเสริฐกุล, อาบัน สามัญชน   งานนี้ได้รับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม โดยหน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนากำลังคน และทุนด้านการพัฒนาสถาบันอุดมศึกษา การวิจัยและการสร้างนวัตกรรม This research has received funding support from the NSRF via […]

1 2 3 32